ศึกษาธิการเขต (พ.ศ. 2516–2520) และเขตการศึกษา (พ.ศ. 2520–2546) ของ เขตพื้นที่การศึกษา

รัฐบาลได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ของกระทรวงศึกษาธิการออกเป็นเขต พ.ศ. 2516 ในรัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติขจร เพื่อแบ่งเขตพื้นที่ในการบริหารการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการออกเป็น 12 เขต[4] เรียกว่า "ศึกษาธิการเขต" ตั้งแต่เขต 1 ถึงเขต 12 ในอีกสี่ปีถัดมา รัฐบาลของธานินทร์ กรัยวิเชียรได้แยกกรุงเทพมหานครออกจากศึกษาธิการเขต 1 เนื่องจากมีโรงเรียนเป็นจำนวนมาก และเปลี่ยนชื่อเรียกจาก "ศึกษาธิการเขต" เป็น "เขตการศึกษา"[5] ทำให้มีเขตการศึกษาเพิ่มเป็น 13 เขต โดยแต่ละเขตมีพื้นที่บริหารราชการดังนี้ (ชื่อจังหวัดที่แสดงเป็นตัวเอนหมายถึงจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นภายหลังจากพระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช้)

ใกล้เคียง

เขตพื้นที่การศึกษา เขตพื้นที่สรรพากร เขตพื้นที่ที่ปกครองตนเอง เขตพระนคร เขตพญาไท เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) เขตพระโขนง เขตพิเศษของโตเกียว เขตพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียนด้านตะวันออก (บรูไน–อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ฟิลิปปินส์) เขตพิเศษยกยาการ์ตา

แหล่งที่มา

WikiPedia: เขตพื้นที่การศึกษา http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0012499... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0012548... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0012656... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/...